วันจันทร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่ 13

The Healthy Classroom โดย อาจารย์อภิชาติ วัชรพันธุ์     แนวคิดของ Steven Hastings (2006) จากหนังสือที่ชื่อว่า
     1) ในปัจจุบัน เด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีสุขนิสัยที่ดี ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมหรือไม่ เพียงใด     ไม่เหมาะสมเท่าที่ควร คือในยุกต์ปัจจุบันนี้มีความสะดวกสะบายมากในเรื่องของการบริโภคต่างๆมักจะไม่ค่อยคิดอะไรมากรวมถึงเรื่องประโยชน์ของสิ่งที่บริโภคนั้นซึ่งอาจมีโทษมากกว่าประโยชน์อีกด้วนซ้ำส่วนในพฤติกรรมสุขภาพเด็กในปัจจุบันไม่ค่อยใส่ใจกันมีเด็กจำนวนมากที่เป็นเด็กหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเด็กติดเกมส์หรือมีเยาวชนหรือผู้ใหญ่บางกลุ่มที่ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นเรื่องที่สังคมพยายามอย่างมากที่จะหาทางแก้ไขในฐานะครูในอนาคตผมคิดว่าผมจะต้องเปลี่ยนแนวคิดของเด็กในอนาคตให้เห็นให้รู้และเข้าใจสิ่งที่ควรปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคและการดูแลรักษาสุขภาพ
      2) ในปัจจุบันเด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีกีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง มากน้อยเพียงใด(ทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล แพทย์ไทย มักจะถาม คำถามว่า “มีโรคประจำตัวอะไรบ้าง” แต่ไม่เคยถามว่า “หนู มีกีฬาประจำตัวหรือไม่ มีปฏิทินออก กำลังกายไหม
     จะถามว่าเด็กและผู้ใหญ่ไทย มี กีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง คิดว่าจะมีสักกี่คนสักกี่ครอบครัวที่ทำแบบนี้ได้บ้างคงจะมีน้อยมากในสังคมไทยอาจจะมีก็เช่นผู้ป่วยที่ต้องออกกำลังกายขยับกล้ามเนื้ออยู่ทุกวันเป็นประจำเพื่อรักษาอาการป่วย ในประเด็นนี้ฟังดูน่าสนใจมากเด็กไทยควรที่จะได้ฝึกและปฏิบัติอย่างเป็นนิสัยภายใต้การนำของครูพันธ์ใหม่ในอนาคต
     3) เด็กไทยมีความสามารถในการบริหารสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ หรือการพัฒนาบุคลิกภาพหรือไม่ เพียงใด(ดูได้จากบรรยากาศการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ในทันทีที่มีการประกาศผลการแข่งขัน จะมี 1 ทีมที่ร้องให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้)
        มี  เพราะ   การบริหารสุขภาพจิต คือ เทคนิคที่จะทำให้สุขภาพจิตดีมีมากมาย วิธีหนึ่งคนนึง ใช้ได้ผลแต่อีกคนหนึ่งใช้ไม่ได้ก็ต้องเลือกเอาเองว่าจะใช้วิธีใดใช้แล้วดี หัวเราะบ่อย ๆ คุยตลก ดูตลก หาการ์ตูนขำขันอ่านบ้าง ทำอะไรก็ได้ ที่มันทำให้หัวเราะ การหัวเราะช่วยบริหารกล้ามเนื้อใบหน้าช่วยให้แก่ช้า สดใส บางคนเข้าใจผิดว่าหัวเราะทำให้เกิดรอยย่นตรงนั้นตรงนี้ ยิ้มกว้างก็กลัวย่น ทุกวันนี้คนหัวเราะง่ายจะลดลงเรื่อย ๆ เพราะสภาพแวดล้อมไม่ดีมีมากขึ้น

               การควบคุมอารมณ์  คือ เราจะต้องมีการควบคุมอารมณ์ได้เพราะเราได้ทำการบริหารสุขภาพจิตทำให้เราควบคุมอารมณ์ตนเองได้อย่างสม่ำเสมอ
               การพัฒนาบุคลิกภาพ  คือ การที่เรามีสมาธิ  มีอารมณ์ที่ไม่โกรธทำให้เราพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมบุคลิกภาพ ที่ดีที่สุด คือความมั่นใจ จริงใจ แม้พูดไม่ชัดแต่ก็พูดด้วยความมั่นใจ พูดหยาบแต่มั่นใจแบบคนบ้านนอก พูดกู ๆ มึง ๆ คนฟังก็ทราบซึ้งถึงน้ำตาไหลได้ บุคลิกภาพนอกจากการพูดแล้ว ยังมีน้ำเสียง ท่าทาง ความมั่นใจ เป็นพลังที่ส่งออกไปจากผู้พูด ไปยังผู้ฟัง
         4) ขณะนี้โรงเรียนได้ให้ความสาคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก พอ ๆ กับ การส่งเสริมด้านวิชาการหรือไม่ โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับค่านิยมสูง(มีชื่อเสียง)
            มี  เพราะ  สภาพชีวิตที่เป็นสุข มีอารมณ์มั่นคงสามารถปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีสมรรถภาพในการ ทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความพอใจ สุขภาพไม่ว่าจะเป็นสุขภาพกายหรือสุขภาพจิตเป็นสิ่งสำคัญและ จำเป็นสำหรับทุกชีวิตในการดำรงอยู่อย่างปกติ เป้าหมายของการเรียนรู้ วิชาสุขภาพจิต ก็คือ การทำให้ชีวิตมีความสุข ความพอใจ ความสมหวัง ทั้งของตนเองและของผู้อื่น 

            5) เมื่อเปิดภาคเรียน ภายใน 2 สัปดาห์แรก ครูประจำชั้นได้ทำความรู้จักกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด มีการจาแนกเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติหรือไม่ (กลุ่มเสี่ยงหมายถึง ผลการเรียนอ่อน สุขภาพไม่ดี มีปัญหาทางครอบครัว รวมถึงมีผลการเรียนดีมาก เกรดเฉลี่ย 4.00 มาโดยตลอด ซึ่งจะเสี่ยงในเรื่องความเครียด) 
                ไม่  เพราะ  ถ้าทำอย่างนั้น จะทำให้เด็กที่เรียนไม่เก่งจะไม่ได้ความรู้อะไรเลยเพราะจะทำให้เข้ากับเพื่อนไม่ได้ เด็กที่เรียนเก่งกว่าก็จะดูถูกและหยอกล้อเด็ดที่เรียนอ่อนกว่าทำให้เด็กไม่มีสมาธิในการเรียนทำให้เรียนไม่ทันเพื่อนในห้อง  เด็กจะขาดพรหมด้อย  และดูตัวเองว่าเป็นเด็กโง่ไม่ทันเพืื่อนทำให้ผลการเรียนก็ต่ำลงทำให้เด็กเสียใจและไม่อยากมาโรงเรียนเพราะอายเพื่อน  เพราะฉะนั้นคุณครูไม่ควรแยกเด็กเก่งกับอ่อนควรให้อยู่รวมกัน
           6) ครูประจาชั้น หรือโรงเรียนได้จัดระบบดูแล-ช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างไรบ้าง เพื่อลดความเสี่ยงในชีวิต(สมัยที่ผมเป็นครูประจำชั้น ผมจะประกาศรายชื่อ “ผู้ช่วยอาจารย์ประจำชั้น” โดยเลือกจากนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้นักเรียนเหล่านี้มีโอกาสทางานใกล้ชิดกับครู มีการประชุมร่วมกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
              1. ควรให้คำปรึกษาแก่เด็ก
              2. ยอมรับฟังปัญหาของนักเรียนได้ทุกเรื่อง
              3. จัดกิจกรรมส่งเสริมวิชาการให้กับเด็กเพื่อที่จะใด้เด็กได้มีส่วนร่วม
              4. จัดเกมส์และกีฬาภายในโรงเรียนเพื่อลดปัญหาลง
              5. ควรจัดกิจกรรมทัศนศึกษานอกโรงเรียนทุกครั้ง
              6. การอบรมให้ความรู้แก่เด็ก

          7) โรงเรียนมีการพัฒนารายวิชา(วิชาเลือก/วิชาเพิ่มเติม) ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ การบริหารจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ หรือไม่(หลักสูตรประเทศสิงค์โปร์ เด็กอนุบาล ต้องเรียนวิชา “การควบคุมอารมณ์”)
               มี  เพราะ  การพัฒนาบุคลิกภาพและการควบคุมอารมณ์สุขภาพจิต จำเป็นอย่างยิ่งต่อวิชาที่เรียน เพราะจะช่วยให้เด็กมีสมาธิในการเรียรการทำข้อสอบ มีความมุ่งมั่นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆๆมากขึ้นมีจิตใจเมตตาต่อคนรอบข้าง มีความมุ่งมานะต่อสถานะการณ์ต่างๆๆมากมาย
            8) โรงเรียนมีการประเมินมาตรฐานด้าน สุขภาพกาย และสุขภาพจิต เป็นระยะ ๆ อย่างจริงจังมากน้อยเพียงใด
                มาก เพราะ  ทางโรงเรียนจะประเมิน สุขภาพกาย สุขภาพจิต ของนักเรียนเป็นระยะๆทำให้รู้ว่านักเรียนมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายเป็นอย่างไรในแต่ละคน  และคุณครูก็ได้ประเมินตามมาตรการของโรงเรียนที่จัดตั้งไว้
          9) โรงเรียนมีแบบประเมิน/แบบสังเกตภาวะสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน เพื่อครูประจาชั้น และ พ่อแม่ใช้ในการสังเกต-ประเมินนักเรียนในความรับผิดชอบ หรือบุตรหลานของตนเอง หรือไม่ ฯลฯ
     สรุป การส่งเสริมเรื่องสุขภาพกาย และสุขภาพจิตของนักเรียนนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญและมีความจำเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาเด็กมีแบบประเมินสุขภาพเด็กทุกคนในโรงเรียนและประเมินคุณภาพทางครอบครัวของเด็กแต่ละคน ถ้าวันหนึ่งเป็นครูเป็นครูก็คิดว่าจะหาแนวทางและเทคนิคต่างๆที่มุงพัฒนาเด็กมาปรับใช้อย่างเต็ม

       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น